วันพฤหัสบดีที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2559

บทที่3การอ่านภาษาอังกฤษที่เกี่ยวกับวิชาชีพครู

    การอ่านภาษาอังกฤษ มี 2 ลักษณะ คือ การอ่านออกเสียง (Reading aloud) และ การอ่านในใจ (Silent Reading) การอ่านออกเสียงเป็นการอ่านเพื่อฝึกความถูกต้อง (Accuracy) และความคล่องแคล่ว  (Fluency) ในการออกเสียง ส่วนการอ่านในใจเป็นการอ่านเพื่อรับรู้และทำความเข้าใจในสิ่งที่อ่านซึ่งเป็นการอ่านอย่างมีจุดมุ่งหมาย เช่นเดียวกับการฟัง ต่างกันที่ การฟังใช้การรับรู้จากเสียงที่ได้ยิน ในขณะที่การอ่านจะใช้การรับรู้จากตัวอักษรที่ผ่านสายตา ทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเป็นทักษะที่สามารถฝึกฝนให้ผู้เรียนเกิดความชำนาญและมีความสามารถเพิ่มพูนขึ้นได้ ในบทนี้จะกล่าวถึงการอ่านในใจเท่านั้น
           การอ่านในใจ  มีกิจกรรมในระยะต่าง ๆ คือ
                 1) กิจกรรมนำเข้าสู่การอ่าน ( Pre-Reading) 
                 2) กิจกรรมระหว่างการอ่าน ( While-Reading)  
                 3) กิจกรรมหลังการอ่าน(Post-Reading) แต่ละกิจกรรมมีกลวิธีการอ่านซึ่งในอธิบายในหัวข้อถัดไป 



ในกิจกรรมนำเข้าสู่การอ่าน  ( Pre-Reading)  มีกลวิธีดังนี้

 Category 1: Pre-reading Strategies
  reading the title of the text
  looking at the pictures/tables/figures in the text
  looking at the questions about the text
  thinking about the previous knowledge on the topic of the text
 questioning the reason the author is writing about the topic


Category 2: While-reading Strategies ในกิจกรรมระหว่าง การอ่านมีกลวิธีดังนี้
   reading through the passage
  figuring out the meanings of the words and phrases from the text
  skipping some unknown words
  reading without translating word-for word
  visualizing events
  taking notes
  assimilating text with the background information

 Category 3: Post-reading Strategies ในกิจกรรมหลังการอ่านมีกลวิธีดังนี้  
  making a summary of a whole reading text 
  retelling to others about what has been read
  evaluating the text
  discussing the reading text with classmates

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น