1. การแนะนำตนเองต่อนักเรียน (Giving Self –introduction to Students) การแนะนำตัวเองเป็นภาษาไทย โดยทั่วไปการแนะนำตนมีวิธีการดังนี้ 1. กล่าวทักทายนักเรียน 2. ชื่อและนามสกุล 3. ถิ่นกำเนิด (ยกเว้นได้) 4. การศึกษา 5. ความรู้ความสามารถพิเศษ 6. ตำแหน่งหน้าที่การงาน ความรับผิดชอบ 7. หลักหรือแผนการในการดำเนินชีวิต การแนะนำตัวเองเป็นภาษาอังกฤษ Make sure your introduction is appropriate for your grade level Reassure the class of your ability to answer questions, help with assignments and solve problems Briefly discuss a hobby, favorite food or sport team to show humility Quickly field any questions and re-direct back to the regular classroom procedure for the day
2. การเริ่มบทสนทนากับผู้เรียน (Breaking the Ice with Students) การเริ่มบทสนทนากับผู้เรียนเป็นภาษาไทย ให้สนใจความคิดของนักเรียน จงสนับสนุนนักเรียนให้แสดงความคิดของเขาเอง คำถามที่เหมาะสมอาจเป็นคำถามที่ใช้หยั่งทัศนะ เนื่องจาก คำถามแบบนี้มักกระตุ้นให้ตอบมากกว่าแค่บอกว่าใช่หรือไม่ใช่ อย่ารู้สึกข้องขัดใจ จงอดทน อย่าพยายามคาดคั้นให้เขาสนทนาด้วยให้ถามคำถามใหม่ ซึ่งนักเรียนบางคนเขาจะเต็มใจแสดงความคิดเห็นของเขาอย่างสะดวกใจมากขึ้น การเริ่มบทสนทนากับผู้เรียนเป็นภาษาอังกฤษ Topics General Topic School/Work Topics Relationship Questions Sports Conversation Starters Vacation Questions Food/Drink Topics Entertainment Topics Personal Questions บทสนทนา (Conversation) Greetings : Go to the teacher’s website for your listening A : Hi, how are you doing? B : I'm fine. How about yourself? A : I'm pretty good. Thanks for asking. B : No problem. So how have you been? A : I've been great. What about you? B : I've been good. I'm in school right now. A : What school do you go to? B : I go to PCC. A : Do you like it there? B : It's okay. It's a really big campus. A : Good luck with school. B : Thank you very much. A : How are you doing today? B : I'm doing great. What about you? A : I'm absolutely lovely, thank you. B : Everything's been good with you? A : I haven't been better. How about yourself? B : I started school recently. A : Where are you going to school? B : I'm going to PCC. A : How do you like it so far? B : I like it so far. My classes are pretty good right now. A : I wish you luck. B : Thanks a lot. 3. การให้คำปรึกษากับผู้เรียน (Giving Students Advises) การให้คำปรึกษากับผู้เรียนภาษาไทย การให้คำปรึกษานี้มีลักษณะที่แตกต่างจากการให้บริการอื่นๆ ดังนี้ คือ 1. มีทฤษฎีกระบวนการและเทคนิคการให้คำปรึกษาให้อาจารย์ได้เลือกใช้ได้ตามความเหมาะสมกับลักษณะของปัญหาและธรรมชาติของนักเรียน 2. เน้นสัมพันธภาพที่ดีระหว่างอาจารย์ผู้ให้คำปรึกษาและนักเรียนผู้รับคำปรึกษา 3. เน้นปัจจุบันเพื่อให้นักเรียนอยู่ในโลกของความเป็นจริง และสามารถค้นหาแนวทางแก้ไขที่เป็นได้ในปัจจุบัน 4. ไม่มีคำตอบสำเร็จรูปตายตัว เพราะการให้คำปรึกษาเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ วิธีการแก้ปัญหาแต่ละกรณีจะไม่เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับสถานการณ์และสภาพปัญหา โดยนักเรียนจะเป็นผู้ตัดสินใจเลือกแนวด้วยตัวเอง
1.Morale คติธรรม : วัฒนธรรมที่เกี่ยวกับหลักในการดำเนินชีวิต 2.Natick fair เนติธรรม :วัฒนธรรมทางกฎหมาย รวมทั้งระเบียบประเพณีที่ยอมรับนับถือกันว่ามีความสำคัญเช่นเดียวกับกฎหมาย 3.Cultural diversity: The fact or quality of cultures of being diverse or different. Cultural diversity should be considered as a source of enrichment rather a source of conflicts. ความหลากหลายทางวัฒนธรรม: ความจริงหรือคุณภาพของวัฒนธรรมที่มีความหลากหลายของการเป็นหรือแตกต่างกันความหลากหลายทางวัฒนธรรมที่ควรได้รับการพิจารณาเป็นแหล่งที่มาของการเพิ่มปริมาณค่อนข้างแหล่งที่มาของความขัดแย้งได้ 4.Cultural stereotypes: A fixed idea that people have about what someone or something is like, especially an idea that is wrong. Cultural stereotypes make our understanding of other cultures difficult. แบบแผนทางวัฒนธรรม: ความคิดคงที่ที่ผู้คนมีเกี่ยวกับสิ่งที่ใครบางคนหรือบางสิ่งบางอย่างที่เป็นเหมือนโดยเฉพาะอย่างยิ่งความคิดที่ว่าเป็นสิ่งที่ผิดแบบแผนทางวัฒนธรรมทำให้ความเข้าใจของเราวัฒนธรรมอื่น ๆ ที่ยากลำบาก 5 .Values: Beliefs of a person or social group in which they have an emotional investment (either for or against something). "He has very conservatives values" ค่าหรือค่านิยม:ความเชื่อของบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่มีการลงทุนทางอารมณ์ เช่น "เขามีค่าอนุรักษ์นิยมมาก" 6 .วัฒนธรรม หมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทาให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสาคัญ 7 .จารีต หมายถึง ประเพณีที่ถือสืบต่อกันมานาน. 8. ประเพณี หมายถึง ระเบียบแบบแผนที่กาหนดพฤติกรรมในสถานการณ์ต่างๆที่คนในสังคมยึดถือปฏิบัติสืบกันมา 9 .ขนบธรรมเนียม หมายถึง แบบอย่างที่นิยมกันมา. 10. เทศกาล หมายถึง ช่วงเวลาที่กาหนดไว้เพื่อจัดงานบุญและงานรื่นเริงในท้องถิ่น การเปลี่ยนแปลงกับเทคโนโลยี ทุกวันนี้เทคโนโลยีเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวันเกือบทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านการศึกษา ด้านการเกษตร ด้านการอุตสาหกรรม ด้านการคมนาคม และด้านอื่นๆอีกมาก เทคโนโลยีนำความสะดวกสบายมาให้ในหลายๆด้านก็จริง แต่ก็นำพาความยุ่งยากมาให้เช่นเดียวกัน เช่นอาชญากรคอมพิวเตอร์ ที่สามารถเข้ามาค้นข้อมูลส่วนตัวของเราได้แล้วนำไปใช้ในทางที่ผิด เช่น นำไปใช้ในการกู้ยืมเงิน หรือนำไปใช้ในการก่ออาชญากรรมต่างๆ การเปลี่ยนแปลงกับเทคโนโลยี จะเห็นได้ว่าเทคโนโลยีมีการพัฒนาขึ้นมาเรื่อยๆ และจะมีบทบาทมากยิ่งขึ้นในศตวรรษที่21ที่กำลังจะมาถึง ซึ่งอาจจะเป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ที่มีเทคโนโลยีในทุกๆด้านของสังคม อาจจะ มีการใช้เทคโนโลยีแทนคนในการทำงาน หรืออาจจะมีการใช้เทคโนโลยีทำอาหารแทนพ่อครัวแม่ครัวก็ได้ และถ้าหากเป็นเช่นนั้นก็อาจส่งผลต่อหน้าที่การงานของคน ทำให้เกิดอัตราการว่างงานมากขึ้น และคนที่เกิดให้ยุคของเทคโนโลยีอาจจะทำอะไรด้วยตนเองไม่เป็นก็ได้ เพราะเทคโนโลยีได้กลายมาเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตมนุษย์อย่างสมบูรณ์แล้ว
Category 1: Pre-reading Strategies reading the title of the text looking at the pictures/tables/figures in the text looking at the questions about the text thinking about the previous knowledge on the topic of the text questioning the reason the author is writing about the topic
Category 2: While-reading Strategies ในกิจกรรมระหว่าง การอ่านมีกลวิธีดังนี้ reading through the passage figuring out the meanings of the words and phrases from the text skipping some unknown words reading without translating word-for word visualizing events taking notes assimilating text with the background information
Category 3: Post-reading Strategies ในกิจกรรมหลังการอ่านมีกลวิธีดังนี้ making a summary of a whole reading text retelling to others about what has been read evaluating the text discussing the reading text with classmates